หน้าหลัก
เกี่ยวกับองค์กร
ความเป็นมาของสภาเกษตรกรแห่งชาติ
อำนาจหน้าที่ขององค์กร
วิสัยทัศน์
โครงสร้างสภาเกษตรกรแห่งชาติ
โครงสร้างขององค์กร
คณะทำงาน
ผู้บริหาร
ติดต่อเรา
ข่าวสารและกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ผลการดำเนินงาน
ยุทธศาสตร์สภาเกษตรกรแห่งชาติ
แผนแม่บทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม
แผนพัฒนาเกษตกรรมระดับจังหวัด
พ.ศ. 2566-2570
พ.ศ. 2557-2560
รายงานประจำปี
ข้อเสนอเชิงนโยบาย
แผนพัฒนาเกษตรกระดับตำบล
ข้อมูลเผยแพร่
สื่อมัลติมิเดีย
ดาวน์โหลดเอกสาร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ติดต่อ
Menu
หน้าหลัก
เกี่ยวกับองค์กร
ความเป็นมาของสภาเกษตรกรแห่งชาติ
อำนาจหน้าที่ขององค์กร
วิสัยทัศน์
โครงสร้างสภาเกษตรกรแห่งชาติ
โครงสร้างขององค์กร
คณะทำงาน
ผู้บริหาร
ติดต่อเรา
ข่าวสารและกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ผลการดำเนินงาน
ยุทธศาสตร์สภาเกษตรกรแห่งชาติ
แผนแม่บทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม
แผนพัฒนาเกษตกรรมระดับจังหวัด
พ.ศ. 2566-2570
พ.ศ. 2557-2560
รายงานประจำปี
ข้อเสนอเชิงนโยบาย
แผนพัฒนาเกษตรกระดับตำบล
ข้อมูลเผยแพร่
สื่อมัลติมิเดีย
ดาวน์โหลดเอกสาร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ติดต่อ
ประวัติความเป็นมาขององค์กร
สืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 84(8) ประกอบมาตรา 303(1) ได้บัญญัติให้รัฐจัดทำกฎหมายว่าด้วย สภาเกษตรกรให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่ คณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้มีคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการยกร่างกฎหมาย ว่าด้วยสภาเกษตรกร โดยมี ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ (นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์) เป็นประธานกรรมการ และผู้อำนวยการกองนิติการ (ขณะนั้น) เป็นกรรมการ และเลขานุการ เพื่อดำเนินการ ศึกษา และยกร่างกฎหมายว่าด้วยสภาเกษตรกร คณะกรรมการฯ ได้ยกร่างพระราชบัญญัติสภาเกษตรแห่งชาติ พ.ศ.... ซึ่งเป็นกฎหมาย ที่ให้หลักประกันสิทธิเสรีภาพในการคุ้มครอง รักษาผลประโยชน์เกี่ยวกับการผลิต และการตลาดเพื่อให้ผลิตผลทางการเกษตร ได้รับผลตอบแทนสูงสุด และมีสภาสำหรับเกษตรกร ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนเสริมสร้างสมานฉันท์ ของเกษตรกรทั้งประเทศ ทำให้เกษตรกร มีความเข็มแข็ง และ มีการรวมตัวกัน อย่างเป็นเอกภาพ โดยสร้างเครือข่ายเกษตรกร นอกจากนี้ เกษตรกรสามารถจัดทำแผนแม่บท เสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา กำหนด นโยบาย ให้สอดคล้องกับความต้องการ และสภาพปัญหาอันแท้จริง รวมทั้งให้เกษตรกรได้รับ การพัฒนา ส่งเสริมให้ได้รับความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับ เกษตรกรรมด้านต่างๆในการนี้ ได้มีการนำร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว ออกไปรับฟังความคิดเห็นจากเกษตรกร และผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ แต่ละภาค รวม 4 ภาค แล้วนำข้อมูลที่ได้ จากการรับฟังความคิดเห็น มาปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติฯ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และได้เสนอไปยัง สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ดำเนินการ ตามกระบวนการตรากฎหมาย